ภาษาบาลี |
ความหมายภาษาไทย |
*อนุคฺฆาเฏติ |
ก. เปิด / ไม่ปิด / แก้ออก *ของ P.T.S.D. มีความหมายตรงข้ามแปลว่าปิด / มัด โดยแยกศัพท์เป็น น+อุคฺฆาเฏติ |
-ท |
ค. ปัจจัยซึ่งมาจาก ทา ธาตุสำหรับต่อท้ายศัพท์แปลว่า “ให้” เช่นในคำว่า อนฺนท / วณฺณท / สุขท / วรท เป็นต้น |
ก |
(ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ / กาย อุ. กํ อตฺตานํ / ลม อุ. กํ วาตํ / ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ / นกยูง อุ. โก มยูโร / ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ. |
ก. |
๑. ป. พระพรหม ลม ไฟ ใจ |
กกจ |
(ปุ.) เลื่อย / ดองดึง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่ง ใช้หัวทำยา / สวาด ชื่อ ไม้เถา มีหนาม. กจฺ พนฺธเน / อ / ทฺวิตฺตํ แปลง ก เป็น กก. |
กกจขณฺฑ |
ป. ขัณฑ์ / ส่วนของเลื่อย |
กกจทนฺต |
ป. ซี่หรือฟันเลื่อย |
กกณฺฏ/-ฏก |
ป. กิ้งก่า |
กกณฺฏกกกณฺฑก |
(ปุ.) กิ้งก่า วิ. กุจฺฉิโต กณฺฏโก กกณฺฏโก. จฺฉิต โลโป / อุสฺสตฺตํ. |
กกุ |
(ปุ.) หนอก / หนอกโค / กุกฺ อาทาเน / อุ / อุสฺสตฺตํ. |
กกุฎ |
ป. นกพิราบ / นกเขา |
กกุฎปาท |
ค. มีเท้าเหมือนเท้านกพิราบ |
กกุฏ |
(ปุ.) นกพิราบ / นกเขา. กุกฺ อาทาเน / อโฏ / อุสฺสตฺตํ / อสฺสุตฺตญฺจ (แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ และแปลง อ ที่ ก เป็น อุ). |
กกุธ |
(ปุ.) ไม้รกฟ้าขาว / ไม้กุ่ม. วิ. กํ วาตํ กุฏติ นิวาเรตีติ กกุโธ. เอกักขรโกสฎีกา. อภิฯ และ เวสฯ เป็น กกฺ ธาตุ อุธ ปัจ. แปลว่า ไม้รังไก่ ก็มี. |
กกุธผล |
นป. ลูกกุ่ม |
กกุธภณฺฑ |
(นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑. |
กกุนฺทร |
นป. ถ้ำของสิงโต / ที่อยู่ของสิงโต |
กกุภ |
(ปุ.) ช่องพิณ. ส. กกุภ. |
กกุสนฺธ |
(ปุ.) กกุสันธะ พระนามอดีตพุทธะ. |
กกฺก |
(ปุ.) จุณสำหรับอาบ (นฺหานจุณฺณ). กชฺชฺ พฺยถเน / อ. แปลง ชฺช เป็น กก. หนอก หนอกโค ก็แปล. |
กกฺกฎ/-ฏก |
ป. ปู |
กกฺกฎกมคฺค |
ป. ทางปูเดิน / รอยปู |
กกฺกฎกยนฺตก |
นป. บันไดมีขอที่ปลายสำหรับเกาะกำแพง |
กกฺกฎกรส |
ป. รสที่เกิดจากปู / แกงปู |
กกฺกฏ |
ป. เนื้อ / กวาง |
กกฺกฏกกฺกฏก |
(ปุ.) ปู (สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ) วิ. เก กฎตีติ กกฺกโฏ กกฺกฏโก วา. กปุพฺโพ / กฏฺ วสฺสาวรณคตีสุ / กุกฺ อาทาเน วา / อโฏ / อุสฺสตฺตํ. ศัพท์หลังลง ก สกัด. ส. กรฺกฏ. |
กกฺกน |
(วิ.) ขัดสี / ถูตัว. |
กกฺกร |
ป. ไก่ป่าที่ใช้เป็นไก่ต่อ กระจก / คันฉ่อง |
กกฺกรตา |
อิต. ความกระด้าง / ความหยาบคาย / ความขรุขระ |
กกฺกริย |
นป. ความหยาบคาย / ความกระด้าง |
กกฺกรุ |
นป. เถาวัลย์ชนิดหนึ่ง / ไม้เลื้อยชนิดหนึ่ง |
กกฺกส |
(วิ.) ร้าย / หยาบ / หยาบคาย / หยาบ ช้า / ทารุณ / แข็ง / กล้าแข็ง / สาหัส / ไม่เป็น ที่รัก / ไม่เป็นมงคล / ไม่ยังใจให้เอิบอาบ / เปลื่อยเน่า / โทษ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺก โส. กรฺ กรเณ / อโส / รสฺส กตฺตํ. กฺสํโยโค. |
กกฺกสวาจา |
(อิต.) คำหยาบ / ฯลฯ / วาจา หยาบ / ฯลฯ. |
กกฺกสฺส |
ป. ความหยาบคาย / ความกระด้าง |
กกฺการิก |
นป. แตงชนิดหนึ่ง |
กกฺการี |
(อิต.) ฟัก / แฟง / ฟักเหลือง / (ฟักทอง) / ฟักทอง / แตงกวา / แตงโม / แตงใหญ่ (แตงร้าน) บวบขม / ตะกั่วขาว. กุกฺ อาทาเน / อโร / อุสฺส อตฺตํ. |
กกฺการุ |
(ปุ.) ฟัก / แฟง / แตง / น้ำเต้า. ถ้าประ โยคมี ติ สังขยาอยู่ แปลรวมเป็น ฟักแฟง แตง น้ำเต้า. นับ ฟัก แฟง รวมเป็น ๑. อรุ ปัจ. |
กกฺการุก |
(ปุ.) แตงโม. ก สกัด. |
กกฺการุชาต |
(นปุ.) ดอกไม้สวรรค์ ? |
กกฺกาเรติ |
ก. ทำเสียงกักๆ / แสดงความสะอิดเอียน |
กกฺกุ |
นป. แป้งผัดหน้า |
กกฺข |
ป. รักแร้ หญ้าแห้ง ควาย เข็มขัดผู้หญิง |
กกฺขฏ |
ค. หยาบ / กระด้าง |
กกฺขฏา |
อิต. ดินสอขาว |
กกฺขลกกฺขฬ |
(วิ.) ชั่ว / ร้าย / ชั่วร้าย / แข็ง กล้าแข็ง / กระด้าง / หยาบ / หยาบช้า / หยาบคาย / ทารุณ / สาหัส / รุนแรง / ขรุขระ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺขโล กกฺขโฬ วา. กิพฺ พิสปุพฺโพ / กรฺ กรเณ / อ / กิพฺพิสโลโป / อิสฺส อตฺตํ / กรสฺส ขโร / รสฺส ลตฺตํ ฬตฺตํ วา / กฺสํโยโค. ส. กฐร. |
กกฺขฬ |
ค. หยาบ / กระด้าง / ดุร้าย / กักขฬะ |
กกฺขฬตฺต |
นป. ความหยาบ / ความกระด้าง |
กกฺขฬิย |
นป. ความแข็ง / ความหยาบ / ความเข้มงวด |
กกฺโกฏก |
ป. ต้นมะตูม / ต้นอ้อย |
กกฺโกล(ตกฺโกล) |
นป. ของหอมชนิดหนึ่ง |
กงฺก |
ป. นกกระยาง / นกอีลุ้ม / เหยี่ยวแดง |
กงฺกฏ |
ป. เกราะ |
กงฺกณ |
นป. กำไลมือ |
กงฺกต |
นป. / ป. กูบช้าง / ต้นไม้ |
กงฺกมุข |
ป. คีมคีบไฟ |
กงฺกล |
ป. / นป. โครงกระดูก / ร่าง / โซ่ |
กงฺกา |
อิต. กลิ่นหอมของดอกบัว |
กงฺกุฏก |
นป. ดินสีทองสีเงิน |
กงฺขติ |
ก. สงสัย / ลังเลใจ |
กงฺขน |
นป. ความสงสัย / ความลังเลใจ |
กงฺขนา |
อิต. ความสงสัย / ความไม่แน่ใจ |
กงฺขา |
อิต. ดู กงฺขนา |
กงฺขาธมฺม |
ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ |
กงฺขายติ |
ก. สงสัย / ข้องใจ / ลังเล |
กงฺขายนา |
อิต. ดู กงฺขนา |
กงฺขายิตตฺต |
นป. ดู กงฺขนา |
กงฺขาวิตรณ |
นป. การก้าวล่วงความสงสัย / การข้ามความสงสัยเสียได้ |
กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ |
(อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย / ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย. |
กงฺขิย |
กิต. สงสัยแล้ว / เคลือบแคลงแล้ว |
กงฺขี |
ค. ผู้สงสัย / ผู้หวัง |
กงฺคุ |
(อิต.) ข้าวฟ่าง / ประยงค์ ชื่อไม้พุ่มชนิด หนึ่ง ใบมีกลิ่นหอม. วิ. โสภณสีสตฺตา คมนียภาวํ คจฺฉตีติ กงฺคุ. คมฺ คติยํ / อุ. แปลง ค เป็น ก มฺ เป็น คฺ นิคคหิตอาคม. โมคคัลลายนพฤติ วิ. กามียตีติ กงฺคุ กมุ อิจฺฉายํ / อุ. เอกักขรโกสฎีกาวิ. เกน คุณาติ สททํ กโรตีติ กงฺคุ. ก ปุพฺโพ / คุ สทฺเท / อุ. ส. กงฺคุ / กงฺคุนี. |
กจ |
ป. ผม / เมฆ |
กจกลาป |
ป. จุกผม / ผมเปีย |
กจงฺคน |
นป. ตลาดเสรี |
กจมาล |
ป. ควัน |
กจวร |
(ปุ.) หยากเยื่อ (เศษของที่ทิ้งแล้ว) / มูล ฝอย / ขยะมูลฝอย. วิ. นานาวิเธ สํกาเร ราสีกรณวเสน กจตีติ กโจ. กจฺ พนฺธเน / อ. กโจ เอตฺถ อิจฺฉิตพฺโพติ กจวโร. วรฺ อิจฺฉายํ / อ. วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน. |
กจวรฉฑฺฑนก |
นป. กจวรฉฑฺฑนิ อิต. ภาชนะสำหรับเทหยากเยื่อ |
กจวรฉฑฺฑนปจฺฉิกจวรปจฺฉิ |
(อิต.) ตะกร้า สำหรับทิ้งขยะ / ตะกร้าขยะ. |
กจวรฉฑฺฑิกา |
อิต. หญิงผู้กวาดขยะ / หญิงผู้ทิ้งหยากเยื่อ |
กจฺจ |
(ปุ.) คนสวย / คนงาม / คนสวยงาม. กจฺ ทิตฺติยํ / อ. แปลง จ เป็น จฺจ. |
กจฺจานกจฺจายนกาติยาน |
(ปุ.) คนเป็นเหล่า กอแห่งกัจจะ / คนเนื่องในวงศ์กัจจะ อิตถิ ลิงค์ลง อี การันต์. |
กจฺจิ |
(อัพ. นิบาต) หรือ / บ้างหรือ / แลหรือ / และหรือ / กระมัง. |
กจฺจิการ |
(ปุ.) ต้นซาก / ใบซาก. |
กจฺจินุ |
(อัพ. นิบาต) บ้าง / อย่างไร / อย่างไร สิ / ใช่หรือ / หรือหนอ / อะไร. |
กจฺจินุ |
อ. อย่างไร? แลหรือ? |
กจฺฉ |
(ปุ.) รักแร้. ส. กกฺษ กกฺษฺยา. |
กจฺฉก |
(ปุ.) ต้นไทร / ต้นเต่าร้าง. กจฺ พนฺธเน / โฉ / สกตฺเถ โก. |
กจฺฉติ |
ก. อันเขาย่อมกล่าว / อันเขาย่อมทำ |
กจฺฉนฺตร |
(นปุ.) ห้องเล็ก / ห้องส่วนตัวของ พระราชา. วิ. กจฺฉสฺส ปโกฏฺฐ สฺส อนฺตรํ กจฺฉนฺตรํ. ราชูนํ สพฺเพสํ อสาธารณฏฺฐานํ กจฺฉนฺตรํ. |
กจฺฉป |
(ปุ.) เต่า วิ. กจฺเฉน ปิวตีติ กจฺฉโป. กจฺฉปุพฺโพ / ปา ปาเน / กฺวิ. ส. กจฺฉป. |
กจฺฉปินี |
อิต. ดู กจฺฉป |
กจฺฉปุฏ |
(ปุ.) คนหาบเร่. |
กจฺฉพนฺธน |
(นปุ.) ายกระเบน / หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน. |
กจฺฉา |
(อิต.) เชือกสำหรับผูกท่ามกลางตัวช้าง / สายรัดกลางตัวช้าง / สายรัดท้องช้าง / ปลายแขน / ข้อมือ / ชายกระเบน / หางกระ เบน / สายรัดเอว / รักแร้ / หญ้า / เครือเถา / ที่ชุ่มน้ำ. |
กจฺฉิการ |
ป. ดู กจฺจิการ |
กจฺฉุ |
(อิต.) โรคคัน / หิด / หิดเปื่อย / คุดทะราด / หูด / เต่าร้าง / หมามุ่ย. กสฺ หึสายํ / อุ / สสฺส จฺโฉ. ส. กจฉู. |
กจฺฉุจุณฺณ |
นป. ผงเต่าร้าง / ผงหมามุ่ย |
กจฺฉุผล |
(นปุ.) เต่ารั้ง เต่าร้าง ใช้ได้ทั้งสองคำ หมากคัน ก็เรียก. |
กช |
(ปุ.) คานหาม. กจฺ พนฺธเน / อ. แปลง จ เป็น ช. |
กชฺชล |
(นปุ.) ยาตา / ยาทาตา (ยาหยอดแก้ โรค ยาหยอดทำให้ตาเยิ้ม). วิ. กชฺชติ โรคนฺติ กชฺชลํ. กชฺช พฺยถเน / อโล. |