“做” กับ “作” ทำ, กระทำ (กริยาหรือสิ่งของเรื่องราวต่างๆ) ฯลฯ

คำว่า “” และ “” — 2 คำนี้ เป็นคำกริยาทั้งคู่ ออกเสียงเหมือนกัน คือ zuò บางครั้งก็ใช้แทนกัน (โดยความหมายไม่เปลี่ยน) ได้อีกด้วย เช่น

叫做、做文章、做诗 จะใช้ว่า

叫作、作文章、作诗 ก็ได้

แต่ 2 คำนี้ก็ยังมีวิธีการใช้ที่แตกต่างกัน คือ

” หมายถึง ทำ (กริยา หรือสิ่งของ) มักใช้กับสิ่งของที่เป็นรูปธรรม จับต้องได้ (เช่น ตัดเย็บเสื้อผ้า,ทำอาหาร, ทำผม, ทำเฟอร์นิเจอร์), เขียน หรือแต่งบทความ (หรืองานเขียนต่างๆ), ผลิต, ทำงาน, เป็น (บทบาท, อาชีพ), กลายเป็น, จัดงาน หรือจัดกิจกรรม, ใช้เป็น, เป็น (มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกัน) เป็นต้น

” หมายถึง สร้าง (ทำให้เกิด,ก่อให้เกิด), เขียน หรือแต่ง (บทความ, งานเขียน ฯลฯ), แสร้งทำ, เป็น หรือใช้เป็น, รู้สึก เป็นต้น โดย “” มักใช้กับสิ่งที่เป็นนามธรรมมากกว่า

ข้อแตกต่างอีกประการ คือ “” เป็นคำโบราณ มีความเป็นภาษาเขียนมากกว่า ส่วน “” มีความเป็นภาษาพูดมากกว่า ด้วยเหตุนี้ ถ้าเป็นสำนวนซึ่งมีการใช้คำที่ใช้ (หรือเข้า) คู่กันอย่างเจาะจงชัดเจนแน่นอน มักจะใช้ “” เช่น 装模作样

และนอกจาก “” จะเป็นคำกริยาแล้ว ยังใช้เป็นคำนามได้อีกด้วย เช่น 大作、成名之作、稀世杰作

ในแง่ไวยากรณ์ โดยทั่วไป กรรมของ “/” มักเป็นคำนาม(名词) หรือคำกริยา(动词)กล่าวอีกอย่าง “/” จะวางอยู่หน้าคำนาม หรืออยู่ในรูป “/ + 名词宾语 (มีกรรม(宾语)เป็นคำนาม) (ดูตัวอย่างคำ ส่วนท้าย) หรืออยู่ในรูป “/ + 动词宾语” ได้ด้วย เช่น 做宣传、做解释、作废

นอกจากนั้น หลัง “/” ยังอาจจะมีบทเสริม补语)ได้ด้วย เช่น 做一下、做不了、做完了、做不完、做好了、做出来了、作得不错、作过、作着、作了半个月 เป็นต้น

ตัวอย่างคำเช่น

做菜

做饭

做头发

做衣裳

做家具

做材料

做作业

做事

做工

做工作

做活儿

做买卖

做生意

做翻译

做戏

做爱

做梦

做作

做法

做到

做人

做主/作主 (ใช้ได้ทั้งสองคำแต่นิยมเขียนว่า 作主 มากกว่า)

做伴(儿)

做东

做客/作客 (ใช้ได้ทั้งสองคำ แต่นิยมเขียนว่า 作客 มากกว่า)

做官

做媒

做美/作美 (ใช้ได้ทั้งสองคำแต่นิยมเขียนว่า 作美 มากกว่า)

做朋友

做父亲

做生日

做寿

做礼拜

当做/当作 (ใช้ได้ทั้งสองคำ แต่นิยมเขียนว่า 当作 มากกว่า)

小题大做

做贼心虚

一鼓作气

作画

作文

作文章

作曲

作废

作弊

作罢

作者

作家

作风

作怪

作对

作恶

作为

作用

认贼作父

装模作样

装腔作势

 

CR.Gunthasith Lertpraingam

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น

error: Content is protected !!