แต้จิ๋วเป็นชื่อท้องถิ่นหนึ่งของจีน มีภาษาและวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง ภาษาแต้จิ๋วก็คือภาษาที่ใช้เป็นหลักในถิ่นแต้จิ๋ว เป็นภาษาแม่ของคนในท้องถิ่นนี้ และคนที่อพยพไปอยู่ต่างถิ่นทั้งในและนอกประเทศจีน ทำให้คนที่พูดภาษานี้เป็นภาษาแม่ได้ชื่อว่าเป็นจีนแต้จิ๋ว หรือกลุ่มชาติพันธุ์แต้จิ๋ว
ภาษาแต้จิ๋วมีชื่อเรียกในประเทศจีนต่างกันหลายอย่างเดิมนิยมเรียกว่า เตี่ยจิวอวย ( 潮州话 เฉาโจวฮว่า-ภาษาพูดถิ่นแต้จิ๋ว) ต่อมาซัวเถาเจริญขึ้นเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและการเมืองแทนเมืองแต่จิ๋ว คนต่างถิ่นจึงนิยมเรียกภาบาถิ่นนี้ว่า ซ่านโถวฮว่า หรือ ซัวเถาอ่วย ( 汕头话 ) ตามเสียงแต่จิ๋ว หมายถึง ภาษาพูดถิ่นซัวเถาต่อมานิยมเรียกว่า เฉาซ่านฮว่า (潮汕话 เตียซัวอ่วย) หมายถึง ภาษาพูดถิ่นแต่จิ๋ว-ซัวเถา เพื่อให้ครอบคลุมท้องถิ่นที่พูดภายานี้ชัดเจนยิ่งขึ้น ในวงวิชาภาษาศาสตร์และภาษาถิ่นจีนนิยมเรียกว่า เฉาช่านฟางเอี๋ยน (潮汕方言 เตียชัวฮวงงั้ง) หมายถึง ภาษาถิ่นแต้จิ๋ว อีกชื่อหนึ่งที่นิยมใช้เป็นภาษาหนังสือเรียกภาษาถิ่นนี้คือ เฉาอี่ว์ (潮语 เตี่ยงื้อ) หมายถึงภาษาของจีนแต่จิ๋ว (潮人的语言) หรือภาษาแต้จิ๋วนั่นเอง
มีอีกชื่อหนึ่งที่จีนแคะใช้เรียกภายานี้จนเป็นที่รู้จักกันทั่วไปคือภาษาฮกล่อ (福佬语 เสียงภาษาจีนแคะว่าฮอล่อว้า) เพราะคำฮกล่อ เป็นชื่อกลุ่มชาติพันธุ์แต่จิ๋วที่แพร่หลายอีกชื่อหนึ่ง
ภาษาแต้จิ๋วมีใช้ที่ไหนบ้าง
ภาษาแต้จิ๋วมีเขตการแพร่คระาายกว้างทั้งในและนอกประเทศจีน ศูนย์กลางอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของมณฑลกวางตุ้ง 4 จังหวัด คือ แต้จิ๋ว (潮州)ซัวเถา (汕头) กิ๊กเอี๊ย (揭阳) และ ซัวบ้วย (汕尾)มีประชากรพูดภาษานี้รวม ๑๒.๒ ล้านคน (สถิติ ค.ศ. ๒๐๐๗) เป็นอันดับ ๒ รองจากภาษากวางตุ้ง มากกว่าคนจีนแคะในมณฑลนี้ และยังกระจายอยู่ในถิ่นต่างๆ ทั่วประเทศจีนอีกมาก ในเซี่ยงไฮ้ 1 ล้านกว่าคน ฮ่องกงและมาเก๊าราว 15 ล้านคน กว่างโจว ราว 1 ล้านคน มณฑลไหหลำตก 2 ล้านคน ไต้หวัน ราว ล้านคน ในเชินเจิ้นราว 4 แสนคน และที่อื่น ๆ อีกรวมกว่า 4 แสนคน รวมจีนแต้จิ๋วในดินแดนจีน ปัจจุบันราว 24-25 ล้านคน ส่วนจีนแต่จิ๋วในต่างประเทศ หนังสือ “จีนแต่จิวโพ้นทะเล 海外潮人)” ว่ามีราว 10 ล้านคน คือ ในมาเลเซีย 5 แสนคน อินโดนีเซีย 8 แสนคน สิงคโปร 4.5 แสนคน กัมพูชา 4 แสนคน เวียดนาม 4 แสนคน ลาว 1 แสนคน อเมริกา 3 แสนคน แคนาดา 2 แสนคน ฝรั่งเศส 1.4 แสนคน ออสเตรเลีย 1 แสนคน ไทย 5 ล้านคน นอกจากนี้ยังมีอยู่ในฟิลิปปินส์ บรูไน พม่า และประเทศ อื่น ๆ อีกมาก แม้กระทั่งในทวีปแอฟริกา จีนแต้จิ๋วโพนทะเลเดิมมีมากที่สุดในประเทศไทยราว 5 ล้านคน แต่ปัจจุบันลูกหลานกลายเป็นไทยไปเกือบหมด เหลือที่พูดแต่จิ๋วได้ดีน่าจะไม่เกินล้านคน เมื่อรวมกับจีนแต่จิ๋วโพ้นทะเลในประเทศอื่นซึ่งส่วนมากยังพูดภาษาแต่จิ๋วได้ดีน่าจะไม่น้อยกว่า 5 ล้านคน รวมคนที่พูดภาษาแต้จิ๋วทั่วโลกราว 30 ล้านคน
ภาษาถิ่นของแต้จิ๋ว
ธรรมชาติประการหนึ่งของภาษาคือ ในถิ่นกำเนิดของภาษานั้นจะมีความแตกต่างกันเป็นภาษาถิ่นมากมาย เช่น ภาษาอังกฤษในเกาะอังกฤษมีความแตกต่างกันมากกว่าภาษาอังกฤษในอเมริกาซึ่งกว้างใหญ่กว่ามาก ภาษาแต้จิ๋วในถิ่นแต้จิ๋วเดิม 9 อำเคอ ซึ่งไม่รวมอำเภอไหฮง และลกฮงของจังหวัดซัวบ้วยก็ยังแตกต่างก้นานมีคำกล่าวว่า “แต่ละอำกอมีภาษาของตัวเอง (县县有语)” คนเตียเอี๊ยและหุ่ยไล้พูดหน่อจนเป็นที่รู้กันทั่วไปในหมู่จีนแต้จิ๋ว คนอำเภอเหยี่ยวพังก็มีศัพท์ท้องถิ่นของตัวจนคนแถบแต้จิ๋วและซัวเถาล้อว่า “เหยี่ยวเพ่งนั้ง-คนเหยี่ยวเพ้ง จือเนี้ยเกี๊ยจาโบ้ว-ผู้หญิงเรียกจาโบ้ว (คนถิ่นแต่จิ๋วและซัวเถานิยมเรียกผู้หญิงว่จือเนี้ย) จุ๋ยโกย(กบ) เกี้ยกับโก้ว หยิวฮื้อ (ปลาหมึก) เกี๊ยหนีโป้ว” จีนแต้จิวถิ่นอื่นเรียกปลาหมึกว่า หยิวฮื้อ คนเหยี่ยวเข้งรวมหน่ำอ่อในปัจจุบันด้วย) เรียก หนีโป้ว กบจีนแต่จิ๋วทั่วไปรียก จุ๋ยโกย (แปลว่า ไก่น้ำ) คนเหยี่ยวเพ้งเรียก ก็บโก้ว (กับ ร่วมรากกับคำว่ากบของไทย) ผู้หญิงทางแถบแต้จิ๋ว ซัวเถาเรียก จือเนี้ย คนเหยี่ยวเพ้งเรียกจาโบ้ว ซึ่งแต่จิวถิ่นอื่นถือว่าไม่ค่อยสุภาพเดิมคนแต้จิ๋วแบ่งกาษาถิ่นของพวกตนเป็น ๒ กลุ่มคือกลุม”ไหถ่งเยี้ยว”กับกลุ่ม “เตี่ยโผว กิก”ไห หมายถึง อำเภอไหเอี๊ย หรือเตียอัง เถ่ง คือ เถ่งไฮ่หรือ เทงไฮ้ เยี้ยว คือ เหยี่ยวเพ้ง (รวมอำเกอหน่ำอ่อในปัจจุบันด้วย) ๓อำเภอนี้ภามาและสำเนียงคล้ายคลึงกันเตี่ย คือ อำเภอเตียเอี๊ยโผว คือ อำเกอโผวเล้ง กิก คือกิ๊กเอี๊ย ๓ อำกอนี้กาษาและสำเนียงคล้ายกัน อำเคอหุ่ยไล้เป็นอำเคอเล็ก อนุโลมรวมอยู่กับอำเกอเตียเอี๊ยอำเภอฮงสุนมีจีนแคะมาก อำเภอตั๋วโปวไม่มีจีนแต่จิ๋วเป็นถิ่นจีนแคะแต่ขึ้นกับจังหวัดแต้จิ๋ว ฮงสุนกับตั้วโปวจึงรวมเป็นกลุ่มเดียวกัน แม้จะแยกกามาออกเป็น ๒-๓กลุ่ม ในแต่ละกลุ่มก็ยังมีความต่างกัน สมกับคำกล่าวที่ว่า “แต้จิ๋ว ๙ อำเคอ แต่ละอำกอมีกามาของตัวเอง”