907年—1368年
辽、金、蒙古等是与宋朝(分为南宋和北宋)并存的北方政权,也都是由少数民族建立的政权,辽以契丹族为主,元则是以蒙古族为主。它们的服饰均与汉族传统的服饰有着显著的区别,带有自己本民族鲜明的服饰特征。它们对于中国传统服饰文化是有益的补充。
แคว้นเหลียว แคว้นจิน และมองโกลเกิดขึ้นสมัยในสมัยซ่ง (แบ่งเป็นซ่งใต้และซ่งเหนือ) ปกครองตนเองอยู่ทางภาคเหนือ ซึ่งปกครองตัวเองแบบชนกลุ่มน้อย แคว้นเหลียวปกครองโดยชนเผ่าชี่ตาน ส่วนหยวนก็คือเผ่ามองโกล เครื่องแต่งกายของชาติพันธุ์นี้มีความแตกต่างกับการแต่งกายของชาวฮั่นค่อนข้างเด่นชัด แต่กลับมีเอกลักษณ์เฉพาะกลุ่ม ซึ่งชนกลุ่มนี้เป็นส่วนเติมเต็มส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมการแต่งกายของชนชาติจีน
戴锦帽、穿锦袍的皇帝
(南薰殿旧藏《历代帝王像》)
辽皇后服
辽国皇后在祭祀时戴红帕,穿络缝长袍、络缝乌靴,悬挂玉佩和双同心帕。皇后上衣穿黑、紫、红等各种颜色的直领对襟衫,或者是左衽团衫。衫的前长拂地,后长拖地30厘米左右,衣上双垂红黄带。
ฉลองพระองค์ตำแหน่งมเหสีราชสำนักเหลียว
มเหสีของราชสำนักเหลียวมีการพันผ้าพันคอในการประกอบพิธี สวมชุดแหวกข้างสีแดง และรองเท้าหุ้มข้อสีดำ แขวนเครื่องหยกและผ้าพันคอซวงถงซิน ปกคอเสื้อเป็นลายปักสีดำ ม่วง และแดง สลับกัน หรือไม่ก็เป็น เสื้อสาบกลมที่พับไปทางซ้าย (คือมีชายเสื้อด้านหน้าที่ยาวและเอียงปัดไปทางซ้าย) ด้านหลังยาวประมาณ ๓๐ เซนติเมตร และประดับแพรแถบสีเหลืองสีแดง
辽契丹服
《卓歇图》是契丹著名画家胡所作的长卷,画面描绘了契丹君臣出行狩猎、放养猎鹰“海东青”出击白天鹅,以及在海泺子射猎牛斗鱼、归来宿营的一系列场景。画中的侍从武卫执歌舒棒卓立守护,故名《卓歇图》。从《卓歇图》中,我们可以较为完整地看到契丹人的发型和服饰。
ชุดชาวเผ่าชี่ตาน
ภาพชุดโจวเซียเป็นภาพขนาดยาวที่วาดโดยจิตกรชาวชี่ตาน ในภาพแสดงการออกไปล่าสัตว์ของกษัตริย์ชี่ตาน มีการปล่อยนกอินทรีย์ขาว ไห่ตงชิง ไปในทุ่งหญ้าเพื่อโจมตีห่าน หรือจะเป็นการล่าสัตว์ในพื้นที่ไห่ลั่วจึ แล้วก็กลับมาตั้งแคมป์กัน ส่วนภาพที่มีทหารองครักษ์ยืนคุ้มครองนั้น ทำให้เราได้รับรู้ถึงการแต่งกายและทรงผมของชาวชี่ตานอย่างครบครัน
髡发、穿圆领袍、佩豹皮箭囊的骑士(胡瓌《卓歇图》局部)
穿左衽窄袖袍的契丹族妇女及穿圆领袍的男子(胡瓌《卓歇图》局部)
元“不狼儿”
元代蒙古族男子上至成吉思汗,下至国人,均剃“婆焦”。这是将头顶正中及后脑头发全部剃去,只在前额正中及两侧留下三搭头发,如汉族小孩三搭头的样式。正中的一搭头发被剪短散垂,两旁的两搭绾成两髻悬垂至肩,以阻挡向两旁斜视的视线,使人不能狼视,称为“不狼儿”。
ทรงผม ปู้หลาร์(ไม่เหล่) ของชาวหยวน
ผู้ชายมองโกลยุคหยวนทุกคนตั้งแต่เจงกิสข่านถึงสามัญชนทั่วไป มีการแต่งทรงผมโดยการโกน เรียกว่า โผเจียว ซึ่งก็คือการการโกนผมตั้งแต่กลางกระหม่อมจนถึงด้านหลังออกไป เหลือผมเพียงสามกระหย่อมบริเวณหน้าผาก และเหนือขมับทั้งสองข้าง ลักษณะคล้ายกับทรงผมเด็กชายชาวฮั่น หย่อมผมตรงกลางนั้นตัดสั้นและปล่อยอิสระ ส่วนสองปอยข้างๆปล่อยยาวถึงบ่า ป้องกันการเอียงสายตาไปทั้งสองข้าง ไม่ทำให้คนตาเหล่ จึงเรียกทรงผมนี้ว่า ทรงไม่เหล่
戴瓦楞帽、剃“三搭头”的元代男子 |
![]() |
元辫线袄
元代统治者穿的袍子,一般是交领、窄袖、腰间打成细褶,用红紫线将细褶横向缝纳固定的样式,使人们在穿着时腰间紧束,便于骑射,这就是元代的“辫线袄”。此款服装在明代被称为“曳撒”,是出外骑乘时常穿的服装。
ชุดหยวนเปี้ยนสี้ยนอ่าว (แจคเก็ตถักเชือกของชาวหยวน)
เสื้อคลุมที่เจ้าผู้ครองนครชาวหยวนสวมใส่ ส่วนมากเป็นแบบสาบเสื้อเฉียง แขนเสื้อแคบ ส่วนเอวตีเกล็ดรัดเอวไว้ โดยใช้เชือกสีม่วงแดงร้อยขวางตามแนวนอนให้แน่น ซึ่งจะรัดรูปบริเวณเอวของผู้สวมอันทำให้สะดวกต่อการขี่ม้ายิงธนู เรียกเสื้อแบบนี้ว่า หยวนเปี้ยนเสี้ยนอ่าว (แจคเก็ตถักเชือกของชาวหยวน) ซึ่งในสมัยหมิงจะถูกเรียกว่า เย่ซา เป็นเครื่องแต่งกายที่มักสวมสำหรับการเดินทางโดยการขี่ม้า
戴瓦楞帽、穿辫线袄的男子(河南焦作金墓出土陶俑)
ผู้ชายสมัยหยวนเผ่ามองโกลจะสวมหมวกทรงกลมที่เรียกว่า “หมวกทรงฉิ่ง” หรือ “หมวกโป๋ลี่” และหมวกสี่เหลี่ยมหรือหลายเหลี่ยม เรียกว่า “หว่าเหลิงเม่า” หรือหมวกลอนกระเบื้อง ในอดีตบริเวณสุสานประจำราชวงศ์หยวนที่อำเภอจางเซี่ยน มณฑลกานซู่ ได้ขุดพบหมวกของมองโกลชนิดนี้ ซึ่งภายหลังก็ได้เห็นอีกในรูปสลักที่สุสานราชวงศ์หยวนที่เมืองเจียวจว้อ มณฑลเหอหนาน
元团衫
元代的蒙古贵族女子袍式宽大,袖身很肥,但袖口收窄,衣长拖地,走路时常需两个女婢扶拽。这种宽肥的袍式,被称为“团衫”或“大衣”。其采用的面料多为织金锦、丝绒或毛织品等。,而流行使用红、黄、绿、茶、胭脂红、鸡冠紫、泥金等色彩。
ชุดหยวนถวน
เครื่องแต่งกายที่สตรีชั้นสูงชาวมองโกลในยุคหยวนสวมมีลักษณะใหญ่ ส่วนลำตัวกว้างมาก แต่ส่วนปลายแขนเสื้อเล็ก ชายกระโปรงยาวลากพื้น เวลาเดินไปไหนมาไหนจะต้องมีนางกำนัลคอยถือไว้ ชุดที่มีลักษณะกว้างเช่นนี้เรียกว่า ถวนซาน หรือ ต้าอี(ชุดคลุม) วัสดุที่ใช้ตัดเย็บมักเป็นผ้าต่วนสีทองมันวาว กำมะหยี่ หรือผ้าขนสัตว์ เป็นต้น และสีที่นิยมก็คือ แดง เหลือง สีชา สีเลือดนก สีม่วงหงอนไก่ สีทองอร่าม เป็นต้น
甘肃安西榆林窟元壁画,穿翻折领小袖袍的行香蒙古贵族
故故冠
蒙古族女子,时兴戴一种很有特色的“故故冠”。这种冠是用桦树皮或竹子、铁丝之类的材料作为骨架,从头顶向上高约70-100厘米,其顶端扩大成平顶帽形;外面以红绢、金锦或毛毡包裱。
มงกุฎกู้กู้
สตรีชาวมองโกลมีแฟชั่นการสวมหมวกที่มีเอกลักษณ์เป็นอย่างยิ่ง ก็คือ มงกุฎกู้กู้ มงกุฎชนิดนี้ทำโครงมาจากเปลือกไม้เพิร์ธ ไม้ไผ่ หรือลวด จากยอดด้านบนลงมายาวประมาณ ๗๐ เซนติเมตร– ถึง ๑ เมตร ยอดของมันบานออกเป็นทรงหมวกคว่ำ ด้านนอกบุด้วยผ้าไหมสีแดง ผ้าต่วน หรือไหมพรม
戴故故冠、穿交领织金锦袍的皇后 (南薰殿旧藏《历代帝后像》) |
![]() |
ในช่วงต้นราชวงศ์หยวนนั้น รัฐบาลได้บังคับให้ประชาชนในปักกิ่ง(ต้าตู้)แต่งกายเช่นเดียวกับชาวมองโกล ซึ่งหลังสมัยจักรพรรดิต้าเต๋อ เครื่องชาวจีนทางเหนือและทางใต้เริ่มแตกต่างกัน ชาวฮั่นในยุคมองโกลครองจีนนี้ โดยเฉพาะประชาชนที่อาศัยอยู่แถบใต้ของแม่น้ำแยงซีที่เรียกว่า ชาวใต้ มีเครื่องกายที่ไม่ต่างจากชาวซ่งเลย ซึ่งก็คือไม่ได้รับวัฒนธรรมการแต่งกายจากชาวมองโกลนั่นเอง